ข้อมูลสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค

สสภ.6


รานงานการประเมินระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนและระบบกำจัดขยะ

ลำดับ ชื่อไฟล์ ไฟล์เอกสาร วันที่นำเข้าข้อมูล
1. การติดตามตรวจสอบระบบรวบรวม และระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ปี 2548 (ทน.นนทบุรี ทม.ปทุมธานี ทน.นครศรีอยุธยา ทต.พระอินทราชา ทม.อ่างทอง ทม.สิงห์บุรี) ดูไฟล์ 27 เม.ย. 2560
2. รายงานการสำรวจและประเมินระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียชุมชน และระบบกำจัดขยะมูลฝอยชุมชน ภายใต้แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2537-2557 ดูไฟล์ 14 ก.ค. 2560
3. รายงานการสำรวจและประเมินระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียชุมชนและระบบกำจัดขยะมูลฝอย ภายใต้แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ดูไฟล์ 21 ก.ค. 2560
 
ตารางข้อมูลจังหวัด นนทบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา รวม
จำนวนประชากรและครัวเรือนที่อยู่ในเขตจังหวัด - - - - - -
จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์
  • จำนวนครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร์
  • จำนวนประชากรแฝง
  • นักท่องเที่ยว
1,193,711
629,008
800,000
-
211,426
57,026
-
185,011
283,173
95,627
1,000
-
1,085,652
539,076
100,000
545,713
808,360
306,128
146,566
1,393,257
3,582,322
1,626,865
1,047,566
2,123,981
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด(จำนวน ตัน/ปี ) 409,656 90,714 102,228 542,275 369,407 1,514,281
ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับบริการการเก็บขนขยะไปกำจัด(จำนวน ตัน/ปี ) 100 - - - - 100
ปริมาณขยะที่ได้รับการนำไปกำจัด (จำนวน ตัน/ปี ) 409,656 36,018 74,581 505,649 304,467 1,330,371
ปริมาณขยะสะสมในจังหวัดที่ไม่ได้รับการกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ (ตัน) - - - 36,626 - 36,626
ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด - - - - - -

ตารางข้อมูลการจัดการขยะและน้ำเสีย นนทบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา รวม
จำนวนสถานที่กำจัดขยะในปัจจุบัน
  • กองบนพื้นแล้วเผา (Open Burning)
  • ฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)
  • ฝังในหลุม
  • เผาในเตาเผา (Incineration)
  • อื่นๆ

-
1
-
-
-

5
1
-
2
-

1
1
-
-
-

1
2
2
-
1. สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอย 1
2. แบเทกองบนพื้นที่ไกลกลบครั้งคราว 5
3. แบเทกองบนพื้นไถกลบทุกวัน 4

4
2
-
3
1. การเทกองที่มีการควบคุม (Controlled Dump) 1

-
1
-
-
5
1
-
2
1
1
-
-
1
2
2
-
4
2
-
3
1
ในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัดมีการจัดการขยะ ดังนี้
  • แหล่งกำจัดขยะมูลฝอยชุมชน
  • แหล่งกำจัดของเสียอันตราย
  • แหล่งกำจัดขยะมูลฝอยติดเชื้อ

3
-
1

6
2
1

12
1
1

6
-
-

23
-
-

50
3
3
ในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัดมีโครงการส่งเสริมรณรงค์เกี่ยวกับด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือไม่ 1 1 1 1 1 5
ปัญหา / ข้อร้องเรียนที่พบเกี่ยวกับการจัดการขยะ 1 1 1 1 2 6
การบริหารจัดการน้ำเสียที่เกิดขึ้นในเขตจังหวัดในปัจจุบัน - - 48 - - 48
ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้ในพื้นที่ 1. ระบบบำบัดน้ำเสียเเบบแอกทิวิเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge)
1. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond)
1. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch)
- 1. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch : OD)
2. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบระบบตะกอนเร่ิง (Activaวted Sludge : AS)
-
สภาพของแหล่งน้ำในชุมชนของ จังหวัด ในปัจจุบัน - - แม่น้ำเจ้าพระยา คุณภาพน้ำจัดอยู่ในประเภทที่ 3 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ - แม่น้ำป่าสัก เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินแหล่งน้ำประเภืที่ 4 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม - แม่น้ำน้อย คุณภาพน้ำจัดอยู่ในประเภทที่ 4 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม - แม่น้ำเจ้าพระยา คุณภาพน้ำจัดอยู่ในประเภทที่ 3 อยู่ในเกณฑ์พอใช้ - แม่น้ำน้อย คุณภาพน้ำจัดอยู่ในประเภทที่ 4 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม แม่น้ำเจ้าพระยา คุณภาพจัดอยู่ในเเหล่งน้ำประเภทที่ 4 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม - -
ปัญหา / ข้อร้องเรียนที่พบเกี่ยวกับน้ำเสียชุมชน - - - - - -
จำนวนผู้เข้าชมทั้งหมด 1,497,970 คน