ลำดับ | ชื่อไฟล์ | ไฟล์เอกสาร | วันที่นำเข้าข้อมูล |
---|---|---|---|
1. | รายงานการติดตามตรวจสอบและประเมินผลประสิทธิภาพ ระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียของชุมชน เขตพื้นที่ภาคตะวันออก ปีงบประมาณ 2553 | ดูไฟล์ | 02 พ.ค. 2560 |
2. | รายงานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2556 | ดูไฟล์ | 19 ก.ค. 2560 |
ตารางข้อมูลจังหวัด | ชลบุรี | ฉะเชิงเทรา | ระยอง | จันทบุรี | ตราด | สมุทรปราการ | รวม |
---|---|---|---|---|---|---|---|
จำนวนประชากรและครัวเรือนที่อยู่ในเขตจังหวัด | - | - | - | - | - | - | - |
จำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์
|
1,455,039 908,250 - - |
700,902 273,569 - - |
700,902 273,569 - 2,978,355 |
531,037 222,738 - - |
229,435 100,802 - - |
1,279,310 608,437 1,877,994 1,462,182 |
4,896,625 2,387,365 1,877,994 4,440,537 |
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด(จำนวน ตัน/ปี ) | 851,085 | 241,057 | 241,057 | 181,729 | 72,967 | 739,231 | 2,327,125 |
ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับบริการการเก็บขนขยะไปกำจัด(จำนวน ตัน/ปี ) | - | - | - | - | - | - | - |
ปริมาณขยะที่ได้รับการนำไปกำจัด (จำนวน ตัน/ปี ) | 791,641 | 204,677 | 204,677 | 119,337 | 59,265 | 595,125 | 1,974,722 |
ปริมาณขยะสะสมในจังหวัดที่ไม่ได้รับการกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ (ตัน) | 4,198 | 75,970 | 75,970 | - | - | 144,106 | 300,243 |
ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด | - | - | - | - | - | - | - |
ตารางข้อมูลการจัดการขยะและน้ำเสีย | ชลบุรี | ฉะเชิงเทรา | ระยอง | จันทบุรี | ตราด | สมุทรปราการ | รวม |
---|---|---|---|---|---|---|---|
จำนวนสถานที่กำจัดขยะในปัจจุบัน
|
3 14 9 - - |
9 4 4 - 1. เทกองรอบบ่อ/ไถดันลงบ่อ (ไม่มีการกลบ) 1 2. การรื้อร่อนขยะเก่าสะสม 1 |
9 4 4 - - |
3 9 4 - - |
- 2 1 1 - |
- 1 - - 1. การกำจัดขยะมูลฝอยของจังหวัดสมุทรปราการ มี 3 แห่ง เป็นพื้นที่ของบริษัทเอกชน 2 แห่ง ได้แก่ บริษัทแพลนเนอร์ซิสเต็มทรานสปอร์ต จำกัด, ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต.แสงชัยปากน้ำ และสถานที่กำจัดขยะของเทศบาล ต.คลองสวน 2 |
3 14 9 - 9 4 4 - 9 4 4 - 3 9 4 - - 2 1 1 - 1 - - 2 |
ในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัดมีการจัดการขยะ ดังนี้
|
24 - 1 |
22 - - |
22 - - |
16 - - |
14 - - |
3 - - |
101 - 1 |
ในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัดมีโครงการส่งเสริมรณรงค์เกี่ยวกับด้านการจัดการขยะมูลฝอยหรือไม่ | 1 | 1 | 1 | 1 | - | 1 | 5 |
ปัญหา / ข้อร้องเรียนที่พบเกี่ยวกับการจัดการขยะ | 10 | 2 | 3 | 2 | - | 1 | 18 |
การบริหารจัดการน้ำเสียที่เกิดขึ้นในเขตจังหวัดในปัจจุบัน | - | - | - | - | - | - | - |
ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้ในพื้นที่ |
1. activated Sludge 2. oxidation ditch 3. oxidation ditch 4. oxidation ditch 5. activated Sludge 6. CFFAS 7. oxidation ditch 8. Lagoon Treatment/pond Treatment 9. Aerated lagoon 10. stabilization |
1. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch : OD) 2. ะบบบำบัีดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond : SP) |
1. ระบบแบบสระเติมอากาศ 2. ระบบเติมอากาศ แบบคลอง 3. ระบบสระเติมอากาศ |
1. ระบบบำบัีดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond : SP) 2. ระบบบำบัีดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond : SP) |
- |
1. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่ง (Activated Sludge, AS) |
- |
สภาพของแหล่งน้ำในชุมชนของ จังหวัด ในปัจจุบัน | - | แม่น้ำบางปะกง อยู่ในเกณฑ์มาตราฐานคุณภาพเเหล่งน้ำประเภทที่ 4 คุณภาพค่อนข้างเสื่อมโทรม | แม่น้ำบางปะกง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำประเภทที่ 4 คุณภาพค่อนข้างเสื่อมโทรม | - | - | แม่น้ำเจ้าพระยา คุณภาพน้ำจัดอยู่ในแหล่งน้ำประเภทที่ 4 อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรม | - |
ปัญหา / ข้อร้องเรียนที่พบเกี่ยวกับน้ำเสียชุมชน | - | - | - | - | - | - | - |